แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การนับศักราชและการแบ่งช่วงเวลาของประวัติสาสตร์ไทย เวลา 1 ชั่วโมง
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ผู้สอน นางสาวมาริสา มามะ
มาตรฐานที่ ส4.1.1 เข้าใจความหมายความสำคัญของการนับเวลา การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ และเทียบศักราชในระบบต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การนับศักราชและการแบ่งช่วงเวลาของประวัติสาสตร์ไทย เวลา 1 ชั่วโมง
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ผู้สอน นางสาวมาริสา มามะ
มาตรฐานที่ ส4.1.1 เข้าใจความหมายความสำคัญของการนับเวลา การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ และเทียบศักราชในระบบต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
1. สาระสำคัญ
ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวของสังคมมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไปในมิติของเวลา เพราะกาลเวลาจะบอกเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตผ่านไปนานมากน้อยแค่ไหน ถ้าไม่นานก็บอกเป็นเดือน เป็นปี หรือศักราช แต่ถ้านานมากก็บอกเป็นช่วงเวลาหรือสมัย ถ้านาน ๆ ก็บอกเป็นยุค ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและสามารถเปรียบเทียบได้
ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวของสังคมมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไปในมิติของเวลา เพราะกาลเวลาจะบอกเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตผ่านไปนานมากน้อยแค่ไหน ถ้าไม่นานก็บอกเป็นเดือน เป็นปี หรือศักราช แต่ถ้านานมากก็บอกเป็นช่วงเวลาหรือสมัย ถ้านาน ๆ ก็บอกเป็นยุค ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและสามารถเปรียบเทียบได้
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2.1 รู้และเข้าใจในการเทียบศักราชแบบต่าง ๆ
2.1 รู้และเข้าใจในการเทียบศักราชแบบต่าง ๆ
2.2 วิเคราะห์ความสำคัญของการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยได้
2.3 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากครูสอนเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยแล้ว นักเรียนมีความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้
3.1 ระบุความสัมพันธ์ เทียบศักราชแบบต่าง ๆ และแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยได้
3.2 ให้ความร่วมมือกับคนในกลุ่ม ด้วยความเต็มใจ ไม่เกี่ยงงาน ไม่ละทิ้งหน้าที่ตั้งใจทำงาน
3.3 รู้จักรักษามรดกที่บรรพบุรุษได้สร้างและสะสมไว้ด้วยความยากลำบาก ให้คงทนถาวรตลอดไป
2.3 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากครูสอนเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยแล้ว นักเรียนมีความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้
3.1 ระบุความสัมพันธ์ เทียบศักราชแบบต่าง ๆ และแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยได้
3.2 ให้ความร่วมมือกับคนในกลุ่ม ด้วยความเต็มใจ ไม่เกี่ยงงาน ไม่ละทิ้งหน้าที่ตั้งใจทำงาน
3.3 รู้จักรักษามรดกที่บรรพบุรุษได้สร้างและสะสมไว้ด้วยความยากลำบาก ให้คงทนถาวรตลอดไป
4. สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
1. การนับศักราช การเทียบศักราช และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
2. การทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะในทางสังคมย่อย การปรับตัวให้อยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น การทำงาน การเล่น การเรียน และการพยายามแก้ปัญหาร่วมกันอย่ามีเหตูผลและถูกวิธี
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
1. การนับศักราช การเทียบศักราช และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
2. การทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะในทางสังคมย่อย การปรับตัวให้อยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น การทำงาน การเล่น การเรียน และการพยายามแก้ปัญหาร่วมกันอย่ามีเหตูผลและถูกวิธี
ด้านเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม (A)
3. ความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษ สำนึกในคุณต่อผู้ทำประโยชน์และเสียสละชีพเพื่อชาติ พึงระลึกไว้เสมอว่าทุกคนมีส่วนเป็นเจ้าของประเทศ ไม่ควรเพิกเฉยนิ่งดูดาย ต่อการทำประโยชน์ให้กับประเทศ บ้านเกิดเมืองนอนของตน แม้เพียงเล็กน้อยก็ตาม
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
5.1 ครูพูดคุยทักทายกับนักเรียน เช็คชื่อว่าใครมาเรียน ลาเรียน และขาดเรียนบ้าง
5.2 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการถามว่า “นักเรียนคะ ปีนี้ พ.ศ. 2550 ตรงกับคริสต์ศักราชที่เท่าไรคะ” เมื่อนักเรียนตอบได้ก็บอกว่าถูกต้องค่ะ ที่ครูให้นักเรียนเทียบศักราช เพราะว่าวันนี้เราจะเรียนเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยนะคะ
5.3 ถ้านักเรียนตอบไม่ได้ให้ครูพูดว่า “อ้าว ! ไม่เป็นไรค่ะนักเรียน ตอนนี้นักเรียนยังตอบครูไม่ได้ แต่ว่าครูเชื่อว่าเมื่อพวกเราเรียนเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยจบแล้วนักเรียนจะตอบคำถามครูได้ อ้าว ! งั้นเรามาเริ่มเรียนกันเลยนะคะ”
3. ความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษ สำนึกในคุณต่อผู้ทำประโยชน์และเสียสละชีพเพื่อชาติ พึงระลึกไว้เสมอว่าทุกคนมีส่วนเป็นเจ้าของประเทศ ไม่ควรเพิกเฉยนิ่งดูดาย ต่อการทำประโยชน์ให้กับประเทศ บ้านเกิดเมืองนอนของตน แม้เพียงเล็กน้อยก็ตาม
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
5.1 ครูพูดคุยทักทายกับนักเรียน เช็คชื่อว่าใครมาเรียน ลาเรียน และขาดเรียนบ้าง
5.2 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการถามว่า “นักเรียนคะ ปีนี้ พ.ศ. 2550 ตรงกับคริสต์ศักราชที่เท่าไรคะ” เมื่อนักเรียนตอบได้ก็บอกว่าถูกต้องค่ะ ที่ครูให้นักเรียนเทียบศักราช เพราะว่าวันนี้เราจะเรียนเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยนะคะ
5.3 ถ้านักเรียนตอบไม่ได้ให้ครูพูดว่า “อ้าว ! ไม่เป็นไรค่ะนักเรียน ตอนนี้นักเรียนยังตอบครูไม่ได้ แต่ว่าครูเชื่อว่าเมื่อพวกเราเรียนเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยจบแล้วนักเรียนจะตอบคำถามครูได้ อ้าว ! งั้นเรามาเริ่มเรียนกันเลยนะคะ”
ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5.4 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษางาน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 7 - 8 คน แล้วจับฉลากเพื่อแบ่งหัวข้อที่แต่ละกลุ่มจะได้ศึกษา ซึ่งมี 5 หัวข้อ ดังนี้
1. การนับศักราช
5.4 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษางาน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 7 - 8 คน แล้วจับฉลากเพื่อแบ่งหัวข้อที่แต่ละกลุ่มจะได้ศึกษา ซึ่งมี 5 หัวข้อ ดังนี้
1. การนับศักราช
2. การเทียบศักราช
3. การแบ่งช่วงเวลาแบบสากล
4. การแบ่งช่วงเวลาแบบไทย
5. ความภาคภูมิใจและวิธีการรักษามรดกที่บรรพบุราได้สร้างสมไว้
5.5 ครูแจกใบความรู้ให้กับนักเรียนทุกคนในกลุ่ม
5.6 นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่มของตนเอง และสรุปเป็นองค์ความรู้ของแต่ละกลุ่ม ( ครูแจกกระดาษฟูลสแค๊ปและปากกาเคมี )
5.7 ตัวแทนแต่ละกลุ่ม ออกไปอภิปรายหน้าชั้น เกี่ยวกับสิ่งที่กลุ่มของตนได้สรุปเป็นองค์ความรู้
ขั้นสรุป
5.8 ครูเพิ่มเติมเนื้อหาให้สมบูรณ์ โดยสรุปเนื้อหาที่เรียนในชั่วโมงนั้น
5.9 ครูแจกใบงานให้นักเรียนทำเป็นการบ้าน พร้อมทั้งกำหนดสถานที่และวันส่งให้ชัดเจน
6. วัสดุ อุปกรณ์ สื่อ / แหล่งเรียนรู้
3. การแบ่งช่วงเวลาแบบสากล
4. การแบ่งช่วงเวลาแบบไทย
5. ความภาคภูมิใจและวิธีการรักษามรดกที่บรรพบุราได้สร้างสมไว้
5.5 ครูแจกใบความรู้ให้กับนักเรียนทุกคนในกลุ่ม
5.6 นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่มของตนเอง และสรุปเป็นองค์ความรู้ของแต่ละกลุ่ม ( ครูแจกกระดาษฟูลสแค๊ปและปากกาเคมี )
5.7 ตัวแทนแต่ละกลุ่ม ออกไปอภิปรายหน้าชั้น เกี่ยวกับสิ่งที่กลุ่มของตนได้สรุปเป็นองค์ความรู้
ขั้นสรุป
5.8 ครูเพิ่มเติมเนื้อหาให้สมบูรณ์ โดยสรุปเนื้อหาที่เรียนในชั่วโมงนั้น
5.9 ครูแจกใบงานให้นักเรียนทำเป็นการบ้าน พร้อมทั้งกำหนดสถานที่และวันส่งให้ชัดเจน
6. วัสดุ อุปกรณ์ สื่อ / แหล่งเรียนรู้
6.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ม.1 ตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
6.2 ใบความรู้ที่ครูทำขึ้น
6.3 ห้องสมุด
6.4 อินเตอร์เน็ต (www.aksorn.com/Lib/S/Soc_04)
6.5 ปากกาเคมี
6.6 กระดาษฟูลสแค๊ป
6.7 ฉลาก 5 ใบ ( ที่ใช้เป็นหัวข้อในการศึกษางานกลุ่ม )
6.3 ห้องสมุด
6.4 อินเตอร์เน็ต (www.aksorn.com/Lib/S/Soc_04)
6.5 ปากกาเคมี
6.6 กระดาษฟูลสแค๊ป
6.7 ฉลาก 5 ใบ ( ที่ใช้เป็นหัวข้อในการศึกษางานกลุ่ม )
7. การวัดผลประเมินผล
7.1 สิ่งที่ต้องการวัด/วิธีวัด
7.1.1 ความรู้ความเข้าใจของการเทียบศักราชแบบต่าง ๆ จากการทำแบบฝึกหัด
7.1.2 ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม จากสถานการณ์จริงที่นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาใบงาน จนกระทั่งได้เป็นองค์ความรู้ออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน
7.1.3 ความภาคภูมิใจ และรู้จักวิธีรักษามรดกที่บรรพบุรุษได้สร้างสมไว้ จากแบบฝึกหัดข้อที่ 5
7.2 เครื่องมือ
7.2.1 แบบฝึกหัด
7.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรม
7.1.1 ความรู้ความเข้าใจของการเทียบศักราชแบบต่าง ๆ จากการทำแบบฝึกหัด
7.1.2 ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม จากสถานการณ์จริงที่นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาใบงาน จนกระทั่งได้เป็นองค์ความรู้ออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน
7.1.3 ความภาคภูมิใจ และรู้จักวิธีรักษามรดกที่บรรพบุรุษได้สร้างสมไว้ จากแบบฝึกหัดข้อที่ 5
7.2 เครื่องมือ
7.2.1 แบบฝึกหัด
7.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรม
7.3 เกณฑ์การประเมินผล
7.3.1 แบบฝึกหัดมี 5 ข้อ ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ข้อ 1และ2 ข้อละ 5 คะแนน, ข้อ 3 1 คะแนน, ข้อ 4 และ5 ข้อละ 2 คะแนน
ข้อ 1 และ 2 ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0
ข้อ 3 ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0
ข้อ 4 ตอบถูกได้ 2 คะแนน ตอบผิดได้ 1 คะแนน
ข้อ 5 ขอเพียงให้ตอบตามความเข้าใจได้ 2 คะแนน
รวมทั้งหมด 15 คะแนน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 70 คือต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 10.5
7.3.2 พฤติกรรมผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 70
7.3.1 แบบฝึกหัดมี 5 ข้อ ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ข้อ 1และ2 ข้อละ 5 คะแนน, ข้อ 3 1 คะแนน, ข้อ 4 และ5 ข้อละ 2 คะแนน
ข้อ 1 และ 2 ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0
ข้อ 3 ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0
ข้อ 4 ตอบถูกได้ 2 คะแนน ตอบผิดได้ 1 คะแนน
ข้อ 5 ขอเพียงให้ตอบตามความเข้าใจได้ 2 คะแนน
รวมทั้งหมด 15 คะแนน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 70 คือต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 10.5
7.3.2 พฤติกรรมผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 70
รวมคะแนนพฤติกรรม 20 คะแนน คือต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 14 จึงจะผ่าน
8. ข้อเสนอแนะ
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (ซึ่งการเรียนการสอนครั้งนี้คือการทำงานกลุ่ม) เป็นหัวใจสำคัญของวิชาสังคมศึกษา นั่นคือ การนำความรู้ที่ได้มาปฏิบัติจริง วิชาสังคมศึกษาแตกต่างไปจากวิชาอื่น เช่น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ที่ว่าเมื่อเรียนไปแล้วครูจะสามารถวัดประเมินความเข้าใจได้ทันที ทักษะในวิชาสังคมศึกษาการวัดผลประเมินผลต้องอาศัยเวลา อาศัยการสังเกต และมาตรฐานของสังคมในการตัดสิน ครูไม่สามารถให้คะแนนอย่างชัดเจนในชั่วโมงเรียนได้
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (ซึ่งการเรียนการสอนครั้งนี้คือการทำงานกลุ่ม) เป็นหัวใจสำคัญของวิชาสังคมศึกษา นั่นคือ การนำความรู้ที่ได้มาปฏิบัติจริง วิชาสังคมศึกษาแตกต่างไปจากวิชาอื่น เช่น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ที่ว่าเมื่อเรียนไปแล้วครูจะสามารถวัดประเมินความเข้าใจได้ทันที ทักษะในวิชาสังคมศึกษาการวัดผลประเมินผลต้องอาศัยเวลา อาศัยการสังเกต และมาตรฐานของสังคมในการตัดสิน ครูไม่สามารถให้คะแนนอย่างชัดเจนในชั่วโมงเรียนได้